Parte a discursului คืออะไร

การรู้ parte a discursului จะทำให้เราสามารถเข้าใจและใช้คำภาษาอังกฤษได้ถูกต้องมากขึ้น

Parte de vorbire 8 ชนิด

(บางที่อาจแบ่ง part of speech ออกเป็น 9 ชนิด โดยจะมี determinant อย่างเช่น a, an, the, the, these, that, those, those, enough, few เพิ่มขึ้นมาอีกหนึ่งชนิด)

Noun (คำนาม)

ยกตัวอย่าง substantiv เช่น

  • ชื่อคน ชื่อสัตว์ ชื่อสถานที่ – Justin, Garfield, Bangkok, Universitatea Mahidol
  • คน สัตว์ สิ่งของ สถานที่ สถานที่ กิจกรรม เหตุการณ์ – femeie, pisică, creion, hotel, tenis, nuntă
  • สิ่งที่เป็นนามธรรม – idee, fericire, pericol, relație

ตัวอย่าง substantiv ในประโยค

Noun ทำหน้าที่เป็นได้ทั้งประธาน กรรรม และส่วนเติมเต็มในประโยค

Nume ทำหน้าที่เป็นประธาน (subiect)

Susie poate scrie foarte repede.
ซูซี่เขียนได้ไวมาก

Tatăl meu este medic.
พ่อของฉันเป็นหมอ

Numele ทำหน้าที่เป็นกรรม (obiect)

Am cumpărat o mașină nouă luna trecută.
ฉันซื้อรถใหม่เมื่อเดือนที่แล้ว

John se plimbă cu bicicleta în fiecare weekend.
จอห์นขี่จักรยานทุกๆวันหยุดสุดสัปดาห์

Numele ทำหน้าที่เป็นส่วนเติมเต็ม (complement)

Vărul meu este student.
ลูกพี่ลูกน้องของฉันเป็นนักเรียน

Tot ce-mi doresc este fericirea.
สิ่งที่ฉันต้องการก็มีเพียงแค่ความสุข

จากตัวอย่าง ข้อแตกต่างระหว่างกรรมและส่วนเติมเต็มก็คือ กรรมเป็นผู้ถูกกระทำ แต่ส่วนเติมเต็มเป็นคำที่ให้ข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับประธาน แต่ส่วนเติมเต็มเป็นคำที่ให้ข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับประธาน ซึ่งมักจะตามหลัง verbul de legătură อย่างเช่น este, am, are, was, were, were, feel, seem, sound, taste เป็นนต้น

Pronoun (คำสรรพนาม)

Pronoun คือคำที่ใช้แทน substantiv อย่างเช่น I, you, he, she, it, we, ei

ในภาษาอังกฤษ เราจะนิยมใช้ pronume แทนคำนามที่เคยกล่าวถึง เพื่อความสะดวกและความกระชับ อย่างในประโยค John este prietenul meu. El locuiește în același oraș cu mine. คำำว่า he ในที่นี้ก็หมายถึง John นั่นเอง

John este prietenul meu. Locuiesc în același oraș cu el.
John este prietenul meu. Locuiesc în același oraș cu el.

ตารางด้านล่างนี้แสดงให้เห็นถึงรูปต่างๆของ pronumele แต่ละตัว (ทุกคอลัมน์จะเป็น pronume หมด ยกเว้นคอลัมน์ที่ 3 ที่เป็น adjectiv)

.

.

.

.

Pronumele ทำหน้าที่เป็นประธาน
Pronoun ทำหน้าที่เป็นกรรม Adjectiv แสดงความเป็นเจ้าของ Pronoun แสดงความเป็นเจ้าของ Pronume สะท้อน
I Me Mea Mea Mea Mine Măi
You You Your Yours Yourself/Yourselves
He Him His His His Himself
She Her Her Hers Herself Herself
It It Its Its Itself
We We
We We
Noi Noi Noi Noi înșine
Ei Ei Ei Eu Ei Eu Eu

.

ตัวอย่าง pronume ในประโยค

Pronumele ทำหน้าที่เป็นประธาน (pronume subiectiv)

Vreau să fiu inginer.
ฉันอยากเป็นวิศวกร

Ea este prietena mea.
เธอเป็นแฟนของฉัน

Pronumele ทำหน้าที่เป็นกรรม (pronume obiectiv)

Anne a mers în parc cu el.
แอนไปสวนสาธารณะกับเขา

Puteți să ne vorbiți despre problema dumneavoastră.
คุณเล่าปัญหาของคุณให้พวกเราฟังได้นะ

Pronunțul แสดงความเป็นเจ้าของ (pronume posesiv)

ความต่างของ adjectiv และ pronume แสดงความเป็นเจ้าของก็คือ pronume แสดงความเป็นเจ้าของไม่ต้องมี substantiv ตามหลัง อย่างเช่น Acesta este stiloul meu. -> Acest stilou este al meu.

Celelalte stilouri sunt ale mele.
ปากกาพวกนั้นเป็นของฉัน

Această geantă este a ta sau a ei?
กระเป๋าใบนี้เป็นของคุณหรือของเธอ

Pronumele สะท้อน (pronume reflexiv)

เราจะใช้ pronume สะท้อนเมื่อผู้ที่กระทำและผู้ที่ได้รับผลจากการกระทำเป็นคนเดียวกัน

M-am rănit în timp ce tăiam un măr.
ฉันทำตัวเองเจ็บในขณะที่ฉันกำลังหั่นแอปเปิ้ล

She makes the makeup herself.
เธอแต่งหน้าด้วยตัวเธอเอง

Verb (คำกริยา)

Verb (ตัวย่อ v.) คือคำที่ใช้แสดงการกระทำ สิ่งที่เกิดขึ้น สิ่งที่เกิดขึ้น หรือสภาวะ เช่น mânca, simți, este, sunt, sunt

Verb หลักและ verb ช่วย

Verb แบ่งหลักๆได้เป็น 2 ชนิด คือ verb หลัก (verb principal) และ verb ช่วย (verb ajutător)

Verb หลัก คือ verb ที่เป็นใจความหลักของประโยค ส่วน verb ช่วย คือ verb ที่ช่วยเสริมเติมแต่งความหมายของ verb หลัก

อีกตัวอย่างหนึ่งเช่น Mă duc la școală. ซึ่งแปลว่า ฉันกำลังไปโรงเรียน ฉันกำลังไปโรงเรียน คำว่า่า going จะถือเป็น verb หลัก ส่วนคำว่า am จะถือเป็น verb ช่วย ซึ่งในประโยคนี้ am จะเข้าไปเสริมความหมายของคำว่า going ให้เห็นว่าเรากำลังทำสิ่งนั้นๆอยู่ (ซึ่งก็คือรูป prezent continuu la timpul prezent นั่นเอง)

จากตัวอย่างเหล่านี้ เราจะเห็นได้ว่า verb ช่วยจะอยู่หน้า verb หลักเสมอ

ทั้งนี้ ประโยคที่สมบูรณ์จะต้องมี verb หลัก แต่ไม่จำเป็นต้องมี verb ช่วย อย่างเช่น Toată lumea iubește ciocolata. ซึ่งแปลว่า ทุกคนชอบช็อคโกแลต ทุกคนชอบช็อคโกแลต ประโยคนี้จะมีแค่ verb หลักเพียงอย่างเดียว ซึ่งก็คือคำว่า iubește

ตัวอย่าง verb ในประโยค

ประโยคที่มีแต่ verb หลัก

Citesc cărți în fiecare zi.
ฉันอ่านหนังสือทุกวัน

El este un om de știință.
เขาเป็นนักวิทยาศาสตร์

ประโยคที่มีทั้ง verb หลักและ verb ช่วย (verb ช่วยจะอยู่หน้า verb หลักเสมอ)

Maria poate merge la petrecere.
มาเรียอาจไปงานปาร์ตี้

Planificăm călătoria noastră de vară.
พวกเรากำลังวางแผนทริปช่วงซัมเมอร์

Adjectiv (คำคุณศัพท์)

Adjectiv (ตัวย่อ adj.) คือคำที่ทำหน้าที่ขยาย substantiv หรือ pronume อย่างเช่นคำว่า mare, bun, bogat, lent

โดยทั่วไป adjectiv จะอยู่หน้า substantiv หรือหลัง verb de legătură (linking verb คือ verb หลักที่ใช้เชื่อมระหว่างประธานกับคำที่ให้ข้อมูลเกี่ยวกับประธาน เช่น is, am, are, feel, seem อย่างเช่นในประโยค Acest stilou este ieftin.)

ตัวอย่าง adjectiv ในประโยค

Adjectiv อยู่หน้า substantiv

Câinele meu are urechile maro.
สุนัขของฉันมีหูสีน้ำตาล

Vreau să fiu un elev bun.
ฉันอยากเป็นนักเรียนที่ดี

Adjectiv อยู่หลัง verb de legătură

Ei sunt deștepți.
พวกเขาฉลาด

Casa mea este mare și curată.
บ้านของฉันใหญ่และสะอาด

Adverb (คำกริยาวิเศษณ์)

Adverb (ตัวย่อ adv.) คือคำที่ใช้ขยาย verb, adjectiv, adverb หรือประโยค

Adverb ส่วนใหญ่จะลงด้วย ly อย่างเช่น repede, încet, fericit, sadly แต่ก็มีบางคำที่ไม่ได้ลงท้ายด้วย ly เช่น always, never, very, fast

ตัวอย่าง adverb ในประโยค

Adverb ที่ขยาย verb

Întotdeauna mă trezesc la 6 a.m.
ฉันตื่นตอน 6 โมงเช้าเป็นประจำ
(always ขยายคำว่า wake up)

A mâncat repede pentru că a întârziat la serviciu.
เธอกินอย่างรวดเร็วเพราะว่าเธอไปทำงานสาย
(repede ขยายยคำำว่า a mâncat)

Adverb ที่ขยาย adjectiv

Este o persoană foarte bună.
เขาเป็นคนที่ดีมาก
(very ขยายยคำำว่า good)

Ești foarte amabil.
คุณใจดีมากเลย
(really ขยายยคำำว่า kind)

Adverb ที่ขยาย adverb

They work extremely quickly.
พวกเขาทำงานกันเร็วมากๆ
(extremely ขยายยคำำว่า quickly)

Această pisică mănâncă foarte fericită.
แมวตัวนั้นกินแบบมีความสุขมาก
(foarte ขยายคำำว่า fericit)

Adverb ที่ขยายประโยค

În mod surprinzător, mulți oameni nu au absolut nimic în economii.
ที่น่าประหลาดใจก็คือ หลายคนไม่มีเงินเก็บเลยแม้แต่นิดเดียว
(surprinzător ขยายทั้งประโยคหลังคอมม่า)

Din păcate, mulți părinți își lasă copiii să aibă prea mult zahăr.
ที่โชคร้ายก็คือ ผู้ปกครองหลายคนปล่อยให้ลูกได้รับน้ำตาลเยอะเกินไป
(din păcate ขยายทั้งประโยคหลังคอมม่า)

Prepoziție (คำบุพบท)

Prepoziție (ตัวย่อ prep.) คือคำที่เอาไว้หน้า substantiv หรือ pronume เพื่อเชื่อม substantiv หรือ pronume นั้นกับคำอื่น

ตัวอย่างคำที่สามารถใช้เป็น prepoziție ได้ เช่น despre, after, as, at, before, by, for, for, in, into, of, on, to, with, without

ตัวอย่าง prepoziția ในประโยค

Clasa începe la ora 9.
คาบเรียนเริ่มตอน 9 โมมง

Am locuit cu fratele meu mai mare.
ฉันอยู่กับพี่ชาย

Vrei să mergi cu noi la bibliotecă?
คุณอยากไปห้องสมุดกับพวกเรามั้ย

Conjuncție (คำเชื่อม)

Conjuncție (ตัวย่อ conj.) คือคำที่ทำหน้าที่เชื่อมคำ คือคำที่ทำหน้าที่เชื่อมคำ วลี หรือประโยคเข้าด้วยกัน เช่น and, but, while, although

ตัวอย่าง conjuncție ในประโยค

I love mom and dad.
ฉันรักแม่และพ่อ

El urăște matematica, dar iubește biologia.
เขาเกลียดเลข แต่เขาชอบชีวะ

Anne m-a sunat în timp ce conduceam.
แอนโทรหาฉันตอนที่ฉันกำลังขับรถ

Interjecție (คำอุทาน)

Interjecție (ตัวย่อ interj.) คือคำสั้นๆที่ใช้แสดงอารมณ์ คือคำสั้นๆที่ใช้แสดงอารมณ์ เช่น oh, hey, ouch, wow ถ้าเทียบกับคำไทยก็เช่น โอ้โห โอ้โห โอ๊ย ปัดโธ่ เป็นต้น

ตัวอย่าง interjecție ในประโยค

Oh! Am crezut că nu vei veni.
โอ้ ฉันคิดว่าคุณจะไม่มาซะแล้ว

Wow! Toată lumea arată atât de bine.
ว้าว ทุกคนหน้าตาดีกันทั้งนั้นเลย

Ouch! Mă doare mâna.
โอ๊ย เจ็บมือจัง

Lasă un răspuns

Adresa ta de email nu va fi publicată.